ทุนทางปัญญาของชาติ


สมมุติฐานที่ 2 : กล่าวว่า
ระบบการจัดการความรู้ไม่ได้ทำเพื่อสร้างความประทับใจที่โด่ดเด่น และสนองนโยบายของรัฐบาลในการพัฒนาของการพัฒนาทุนทางปัญญาสำหรับเศรษฐกิจที่เพิ่มขึ้นของประเทศไทย

สมมุติฐานนี้ได้รับการสนับสนุนบางส่วน แต่ไม่ได้ถูกปฏิเสธ เพราะว่ามีหลากหลายรัฐบาล พยายามผลักดันการแข่งขันแห่งชาติ โดยใช้กรอบแนวความคิดการเพิ่มสภาพเศรษฐกิจ
ปัจจุบันกระทรวงวัฒนธรรมได้ใช้ทุนด้านปัญญาของไทยเพิ่มคุณค่าด้านผลิตภัณฑ์และการให้บริการ เพื่อสร้างรายได้ที่มีศักยภาพ เพื่อเพิ่มสภาพเศรษฐกิจ จากแนวคิดการเพ่ิมสภาพเศรษฐกิจ พบว่าพื้นฐานที่ถูกค้นพบ คือการรวมกันของการสร้างสรรค์พรสวรรค์ ความรู้และเพื่อเพิ่มทุนด้านวัฒนธรรม และสร้างรายได้เฉลี่ยต่อคน (GDP) และเพิ่มความได้เปรียบการแข่งขันของประเทศให้สุงขึ้น
นอกจากนี้ ความสำคัญของการรวมะูรกิจสร้างสรรค์ ที่มีการสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ และการดัดแปลงทุนด้านทรัพย์กรมนุษย์ไปยังกลุ่มลูกค้า ทำให้เกิดการปรับปรุงผลิตภัณฑ์ และเพิ่มสมรรถนะให้สูงขึ้น
อย่างไรก็ดี การใช้ประโยชน์จากการจัดการความรู้สำหรับการเพิ่มมูลค่าความสร้างสรรค์ในประเทศไทยโดยภาครัฐฯ ยังคงไม่เพียงพอนอกจากนี้ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพื้นฐานขังต้องการสนับสนุนอย่างมากจากภาครัฐ
สำหรับการแบ่งปันความรู้และการใช้ประโยชน์ในการพัฒนาทุนทางปัญญาในกรณีศึกษานี้ การนำเสนอทุนทางปัญญาของคนไทยยังไม่สามารถสัมผัสเป็นสินทรัพย์ เพื่อสร้างมูลค่าให้สูงขึ้น เราจะต้องมีการสอบกลับและวิเคราะห์ไปใช้ในการประมวลความรู้ ให้ออกมาเป็นความรู้ที่ชัดเจนส่งผลในการเพิ่มประสิทธิภาพของมุลค่าตลาด
การสร้างมูลค่าสำหรับมูลค่าตลาดต้องการจัดการความรู้ที่ดีขึ้น เครื่องมือที่นำมาใช้คือ แผนที่ความคิด และการเพิ่มประสิทธิภาพให้กับสมอง
นอกจากนี้ผลที่ได้จากกรณีศึกษา แสดงให้เห็นว่าอุตสาหกรรมการบริการ ได้มีการพัฒนา และฝึกฝนในระดับโลก ตลอดจนแผนฝึกอบรมพนักงานในกองค์กร จะเห็นได้ว่าเป็นการเพิ่มทุนทางปัญญา ที่เน้นเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสร้างความประทับใจครั้งแรกที่ได้สัมผัสจากกรณีศึกษาดังกล่าว
Visitors: 53,687